จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

สุ่ม

#include
#include
#include
void main()
{ int a=0;
a=rand();
printf("a=%d.\n",a);
getch();
}

วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ประกาศตัวแปรของ ar

#include
#include

using namespace std;

int main(int argc, char *argv[])
{
float ar [5] [2];
ar[0][0] = 6.0; ar[0][1] = 9.1;
ar[1][0] = 3.0; ar[1][1] = 8.1;
ar[2][0] = 4.0; ar[2][1] = 5.1;
ar[3][0] = 8.0; ar[3][1] = 4.1;
ar[4][0] = 2.0; ar[4][1] = 7.1;
//printf("value of ar[0] = %d \n",ar[0]);
//printf("value of ar[1] = %d \n",ar[1]);
//printf("value of ar[2] = %d \n",ar[2]);
for(int j =0; j<5; j++){
printf("value of ar[%d][0] = %f value of ar[%d][1]= %f\n",j,ar[j][0],j,ar[j][1]);

}
system("PAUSE");
return EXIT_SUCCESS;
}

วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554

งานวิชาโครงสร้างข้อมูล

1. คำว่า “โครงสร้างข้อมูล” มีความหมายว่าอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป
“โครงสร้างข้อมูล (data structures)” มาจากคำว่า “โครงสร้าง (structure)” และ คำว่า “ข้อมูล (Data)”
คำว่า “โครงสร้าง” หมายถึง ความสัมพันธ์กันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม ส่วนคำว่า “ข้อมูล” หมายถึง ข้อมูลคอมพิวเตอร์
ที่ใช้ในการประมวลผล เมื่อรวมสองคำเข้าด้วยกัน “โครงสร้างข้อมูล” หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบในข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้น

2. ให้แสดง ระดับของแบบชนิดข้อมูล (hierarchy of data types) ที่นำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ โดยให้ระบุ ระดับ แบบชนิดข้อมูล และที่มาของข้อมูลในแต่ละระดับ

ระดับ แบบชนิดข้อมูล ที่มา
2 ข้อมูลในระดับความคิด สร้างโดยจินตนาการของนักเขียนโปรแกรม เพื่อแก้ปัญหา
ที่ต้องการ
1 ข้อมูลในระดับโปรแกรม สร้างด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง
0 ข้อมูลในระดับเครื่อง ฮาร์ดแวร์ที่มีให้ใช้ได้


3. จงยกตัวอย่างข้อมูลในระดับโปรแกรมมา 5 ตัวอย่าง
- จำนวนเต็ม (integer)
- จำนวนจริง (real)
- อักขระ (character)
- สตริง (string)
- บูลีน (boolean)

4. จงแสดงตัวอย่างของโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น และโครงสร้างข้อมูลแบบไม่ใช่เชิงเส้น
(1) โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น (linear data structures)
เช่น
- ลิสต์ (list)
- สแตก (stack)
- คิว (queue)
- ดีคิว (deque)
(2) โครงสร้างข้อมูลแบบไม่ใช่เชิงเส้น (non-linear data structures)
เช่น
- ทรี (tree)
- กราฟ (graph)

5. โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ และโครงสร้างข้อมูลทางตรรกะเป็นอย่างไร จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ

โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ (Physical data structures) เป็นโครงสร้างข้อมูลทั่วไปที่มีใช้ในภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งออกเป็นข้อมูล 2 ประเภทตามลักษณะข้อมูล
(1) ข้อมูลพื้นฐาน (primitive data types)
เป็นข้อมูลพื้นฐานซึ่งมีโครงสร้างข้อมูลไม่ซับซ้อนจะต้องมีในภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ตัวอย่างของข้อมูลประเภทนี้ เช่น
- จำนวนเต็ม (integer)
- จำนวนจริง (real)
- ตัวอักขระ (character)
(2) ข้อมูลโครงสร้าง (structured data types)
เป็นข้อมูลที่มีโครงสร้างสลับซับซ้อน เกิดจากการนำโครงสร้างข้อมูลเบื้องต้นมาประกอบกันเป็นโครงสร้างข้อมูลที่หลากหลายขึ้น ข้อมูลที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแรกเป็นข้อมูลเบื้องต้นเท่านั้น แต่ในปัจจุบันภาษาคอมพิวเตอร์เกือบทุกภาษามีข้อมูลโครงสร้างด้วยแทบทั้งสิ้น ตัวอย่างข้อมูลโครงสร้าง เช่น
- แถวลำดับ (array)
- เซต (set)
- ระเบียนข้อมูล (record)
- แฟ้มข้อมูล (file)

โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ (logical data structures) เป็น โครงสร้างข้อมูลที่เกิดจากจินตนาการของผู้ใช้เพื่อใช้แก้ปัญหาในโปรแกรมที่สร้างขึ้น จำแนกได้เป็น 2 ประเภท
(1) โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น (linear data structures)
เป็นชนิดข้อมูลที่ความสัมพันธ์ของข้อมูลเรียงต่อเนื่องกัน โดยข้อมูลตัวที่ 2 อยู่ต่อจาก ข้อมูลตัวที่ 1 ข้อมูลตัวที่ 3 อยู่ต่อจากข้อมูลตัวที่ 2 และข้อมูลตัวที่ n อยู่ต่อจากข้อมูลตัวที่ n - 1 (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ในบทที่ 5) ตัวอย่างโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น เช่น
- ลิสต์ (list)
- สแตก (stack)
- คิว (queue)
- ดีคิว (deque)
- สตริง (string)
(2) โครงสร้างข้อมูลแบบไม่ใช่เชิงเส้น (non-linear data structures)
เป็นชนิดข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวสามารถมีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นได้หลายตัว
ตัวอย่างโครงสร้างข้อมูลแบบไม่ใช่เชิงเส้น
- ทรี (tree)
- กราฟ (graph)


6. จงอธิบายการแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลักแบบสแตติก พร้อมแสดงโครงสร้างข้อมูลที่ใช้การแทนที่ข้อมูลด้วยวิธีนี้
การแทนที่ข้อมูลแบบสแตติก
แทนที่ข้อมูลแบบสแตติก (Static memory representation) เป็นการแทนที่ข้อมูลที่มีการจองเนื้อที่แบบคงที่แน่นอน การแทนที่แบบนี้ต้องมีการกำหนดขนาดก่อนการใช้งาน ข้อเสียของการแทนที่ด้วยวิธีนี้ก็คือไม่สามารถปรับขนาดให้เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ ไม่สามารถเก็บข้อมูลเกินขนาดเนื้อที่ที่กำหนดไว้ และถ้ากำหนดขนาดเนื้อที่ไว้มากเกินจำเป็นทั้ง ๆ ที่มีข้อมูลอยู่จำนวนน้อยจะทำให้สูญเสียเนื้อที่โดยเปล่าประโยชน์ โครงสร้างข้อมูลที่มีการแทนที่ในหน่วยความจำหลักด้วยวิธีนี้คือ แถวลำดับ (ดูรายละเอียดแถวลำดับเพิ่มเติมได้ในบทที่ 3)

7. จงอธิบายการแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลักแบบไดนามิก พร้อมแสดงโครงสร้างข้อมูลที่ใช้การแทนที่ข้อมูลด้วยวิธีนี้
การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก
การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก (dynamic memory representation) เป็นการแทนที่ข้อมูลที่ไม่ต้องจองเนื้อที่ และขนาดของเนื้อที่ที่นำมาใช้สามารถยืดหยุ่นได้ตามความต้องการของผู้ใช้ นั่นคือถ้าข้อมูลมีน้อยก็ใช้เนื้อที่น้อย และถ้าข้อมูลมีมากก็สามารถใช้เนื้อที่มากตามที่ใช้จริงได้ นอกจากนั้นส่วนเนื้อที่ในหน่วยความจำหลักที่ไม่ใช้แล้วสามารถส่งคืนเพื่อกลับมาใช้ใหม่ได้อีก ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงบางภาษาเท่านั้นที่สามารถแทนที่ข้อมูลด้วยวิธีนี้ เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษาพีแอลวัน และภาษาอัลกอล เป็นต้น สำหรับโครงสร้างข้อมูลที่มีการแทนที่ในหน่วยความจำหลักแบบ ไดนามิก คือ ตัวชี้ หรือ พอยน์เตอร์ (pointer)

8. จงอธิบายความหมายของการแทนที่ หรือการแทนค่า (Representation)ข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ต้องการประมวลผลจะถูกนำไปเก็บในหน่วยความจำหลัก
เพื่อประมวลผล ในภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงจะต้องมีวิธีการจัดการกับหน่วยความจำหลัก เพื่อนำหน่วยความจำหลักไปใช้ในโครงสร้างข้อมูลนั้น และเมื่อไม่มีการใช้เนื้อที่ในหน่วยความจำหลักนั้นแล้วควรจะต้องมีการคืนเนื้อที่ในหน่วยความจำหลักด้วย เพื่อนำเนื้อที่หน่วยความจำหลักที่ไม่ได้ใช้สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ โดยทั่วไปการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีการแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลักอยู่ 2 วิธี คือ
1. การแทนที่ข้อมูลแบบสแตติก
2. การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก

9. จงอธิบายการแทนค่าข้อมูลต่อไปนี้
9.1 การแทนค่าจำนวนเต็ม
คอมพิวเตอร์เก็บค่าโดยเอาบิตมาเรียงกัน หากคอมพิวเตอร์ใช้ 16 บิต แทนข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม สามารถแทนค่าได้ทั้งหมด 2ยกกำลัง16 เท่ากับ 65536 แต่เนื่องจากต้องการให้แทนค่าได้ทั้งจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ จึงต้องแบ่งค่าแทนออกเป็น 2 ส่วน โดยใช้บิตลำดับที่16 (หรือเรียกว่า บิต 15) เป็นตัวบอกว่าเลขนั้นเป็นบวกหรือลบ เรียกว่า Signed Bit การแทนเลขลบจะใช้วิธีการกลับบิตของเลขบวก
9.2 การแทนค่าจำนวนจริง
จำนวนจริง คือ ตัวเลขที่มีทศนิยม ซึ่งข้อมูลชนิดนี้สามารถใช้แทนตัวเลขที่มีขนาดใหญ่มากๆ หรือเล็กมากๆ ในขณะที่จำนวนเต็มไม่สามารถใช้แทนได้
การแทนเลขแบบนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของแมนทิสซา หรือ ฟังก์ชั่น และส่วนของแคแรกเทอริสติก หรือเลขชี้กำลัง ซึ่งเขียนในรูปแบบวิทยาศาสตร์

9.3 การแทนค่าอักขระ
คอมพิวเตอร์ใช้ 8 บิต หรือ 1 ไบต์ แทน 1 อักขระ ซึ่ง 8 บิต สามารถแทนค่าัทั้งหมดได้ 256 ค่า รหัสอักขระมาตรฐานที่ใช้คือ ASCll ซึ่งย่ีอมาจาก American Standard Code for Information Interchange

9.4 การแทนค่าบูลีน
ข้อมูลชนิดบูลีนมีเพียง 2 ค่า คือ TRUE และ FALSE ในทางทฤษฏีแล้วใช้เพียง 1 บิต ก็เพียงพอ แต่ในทางปฏิบัติ คอมพิวเตอร์มักใช้ 1 ไบต์ในการเก็บ เพราะสามารถเข้าถึงได้ง่ายกว่า โดยทั่วไปจะแทน FALSE ด้วย 0 คะแนน และแทน TRUE ด้วย 1 หรือค่าอื่นๆ

9.5 การแทนค่าอาร์เรย์
ชุดข้อมูลจะต้องเรียงติดต่อกัน หมายถึง ในอาร์เรย์จะมีข้อมูลตัวที่ 1 ตัวที่ 2 ตัวที่ 3 เรียงติดต่อเรื่อยไปจนถึงตัวที่ n ซึ่งเป็นตัวสุดท้ายของอาร์เรย์
อาร์เรย์จะมีโครงสร้างเป็นแบบเชิงเส้น ดังนั้น เราสามารถระบุค่าถัดไปหรือค่าก่อนหน้าของแต่ละค่าในอาร์เรย์ได้
ขนาดที่จำกัด หมายถึงอาร์เรย์นั้นๆจะต้องสามารถระบุจำนวนข้อมูลทั้งหมดในนั้นได้ อาจจะมีจำนวนมากหรือน้อยก็แล้วแต่การใช้งาน
9.6 การแทนค่าสตริง หรือสายอักขระ
ในภาษาซีไม่มีข้อมูลชนอดสตริงโดยเฉพาะ แต่ซีสร้างข้อมูลชนิดสตริงจากอาร์เรย์ 1 มิติของอักขระ สตริงจบด้วยอักขระ NUL (ASCll 0 หรือ 0x00) หรือเขียนในภาษาซี คือ '\0' ซึ่งอักขระนี้ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของสตริง การดำเนินการกับสตริงทำได้โดยผ่านคลังมาตรฐาน

วันพุธที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2554

โครงการ การ์ตูนแอนิเมชั่น มิวสิคเพลง กุหลาบแดง

โครงการ การ์ตูนแอนิเมชั่น มิวสิคเพลง กุหลาบแดง
วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
ชื่อโครงการ (ไทย) การ์ตูนแอนิเมชั่น มิวสิคเพลง กุหลาบแดง
(อังกฤษ) Cartoon Animation Learn the history.
ชื่อหัวหน้าโครงการ (ไทย)
(อังกฤษ) Mr. thanakorm samof
ตำแหน่ง ครูชำนาญการ
ที่ทำงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
ที่อยู่ 1/1 ถ หน้าเมือง ต.ในเมือง อ. เมือง จ. ขอนแก่น
โทรศัพท์ ………………………..โทรสาร………………..
ลายเซ็น…………………
ชื่อหัวหน้าแผนก
ตำแหน่ง ครูชำนาญการ
ที่อยู่ 1/1 ถ หน้าเมือง ต.ในเมือง อ. เมือง จ. ขอนแก่น
โทรศัพท์ ………………………..โทรสาร………………..
ลายเซ็น…………………
ระยะเวลาของโครงการ………16…….สัปดาห์ งบประมาณ …………5000………. บาท
วันที่เสนอโครงการ (เดือน/ปี)……18/10/2554…………………..
วันที่เสนอฉบับปรังปรุงครั้งที่ 1 (เดือน/ปี)……………………
วันที่เสนอฉบับปรังปรุงครั้งที่ 2 (เดือน/ปี)……………………
ยื่นเสนอขอรับทุนจากหน่ายงานอื่นๆ  ไม่ เสนอ (ระบุหน่วยงาน)……………………

1. สารบัญ สาขาวิชาของบทความ , การถ่ายทำ
2. บทคัดย่อ
บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความยาวไม่เกินภาษาละ 1 หน้า
3. คณะผู้วิจัย
แสดงรายชื่อหัวหน้าโครงการและนักวิจัยร่วมโครงการ พร้อมระบุตำแหน่ง คุณวุฒิ สถานที่ทำงาน ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร ประสบการณ์และความชำนาญของทุกท่านเช่น
ชื่อ 1. นาย ณัฐดนัย กองฝ่าย
2. นาย รัฐพัฒน์ มัสมี
3. นาย ฤทฑิเดช สิริรัตนกุล
ตำแหน่ง ………-………… คุณวุฒิ
สถานที่ติดต่อ………………………
ที่อยู่…………………………..
จังหวัด …………………. รหัสไปรษณีย์………………
ความชำนาญ/ความสนใจพิเศษ………………………
ความรับผิดชอบต่อโครงการที่เสนอ (ระบุส่วนงาน)………………………
คิดเป็น ………………….% ของงานทั้งหมด
ความรับผิดชอบต่อโครงการอื่นๆ ซึ่งยังอยู่ระหว่างดำเนินการ (ถ้ามี โปรดระบุ ชื่อโครงการและแหล่งทุนสนับสนุน)

4. วัตถุประสงค์
เขียนสั้นๆ ประมาณ 2-5 บรรทัด แต่ต้องให้ชัดเจนว่าโครงการจะก่อให้เกิดผลงานอะไรซึ่งจะนำไปแก้ปัญหาหรือตอบปัญหาอะไร
5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
• เขียนสั้นๆ ถึงประโยชน์ และผู้ที่จะได้รับผลประโยชน์ ตลอดจนผลกระทบเชิงเศรษฐศาสตร์และสังคม หากดำเนินการวิจัยสำเร็จตามวัตถุประสงค์
• ระบุความรู้ เทคโนโลยีที่ได้รับจากการพัฒนาโครงการนี้ พร้อมทั้งชี้แจงว่าเทคโนโลยีหรือวิธีการที่เลือกใช้ มีข้อดีหรือข้อได้เปรียบจากเทคโนโลยีหรือวิธีการ แบบอื่นๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันอย่างไร

6. หลักการ เหตุผลและผลงานที่มีมาก่อน
อธิบายหลักการและเหตุผลที่เสนอโครงการนี้โดยบรรยายผลงานและความรู้ที่มีมาก่อนทั้งของนักวิจัยอื่นๆ และ/หรือของคณะผู้วิจัยชุดนี้ โปรดอ้างแหล่งข้อมูลให้ชัดเจน (เสนอรายการเอกสารอ้างอิงตอนท้าย)

7. แผนงานวิจัย
ส่วนนี้เป็นหัวใจของข้อเสนอโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องเขียนให้เป็นขั้นตอนมีความละเอียดและชัดเจน พร้อมทั้งอ้างอิงเอกสารที่จำเป็น
7.1 ระเบียบวิธีวิจัย บรรยายกิจกรรมต่างๆ ในการดำเนินการทดลอง ทดสอบหรือประดิษฐ์สร้าง โดยในแต่ละกิจกรรมจะต้องระบุเป้าหมายและวิธีทำโดยละเอียด
7.2 ตารางเวลาของกิจกรรมต่างๆ ให้จัดตารางสรุปแสดงกิจกรรมต่างๆ ที่จะดำเนินการ พร้อมระบุเวลาที่ต้องใช้ของแต่ละกิจกรรม นับตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึงสิ้นสุดโครงการ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

กิจกรรม สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 ผู้รับผิดชอบ
วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่ วันที่
1. ………
2. ……….

8. ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
ให้ระบุสถาบัน หน่วยงาน บริษัทหรืออุตสาหกรรมที่จะร่วมมือในการดำเนินโครงการฯและอธิบายสิ่งที่บริษัทจะให้ความร่วมมือได้ (เช่น ให้ใช้อุปกรณ์ทดสอบ ให้วัตถุดิบหรือให้ใช้สถานที่ดำเนินการบางส่วน เป็นต้น (โปรดแนบหนังสือยืนยันความร่วมมือ)

9. ความชำนาญของคณะผู้วิจัยที่มีอยู่แล้ว
ระบุกรรมวิธีหรือความชำนาญใดๆ ที่คณะผู้วิจัยมีอยู่ ซึ่งจำเป็นหรือเป็นประโยชน์แก่โครงการฯ และกรรมวิธีหรือความชำนาญใดๆ ที่ยังไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการดำเนินโครงการฯ ให้ระบุชื่อและที่ทำงานของผู้เชี่ยวชาญไทยหรือชาวต่างประเทศที่เหมาะสม

10. อุปกรณ์และสถานที่ ที่มีอยู่
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ที่คณะผู้วิจัยมีอยู่ทั้งหมดที่สามารถนำมาใช้ในการดำเนินโครงการได้ ระบุให้ชัดเจนว่าต้องมีการปรับปรุงสถานที่ได้อย่างไรหรือต้องมีการดัดแปลง ซ่อมแซม เพิ่มเติม ชิ้นส่วนของอุปกรณ์ที่จะใช้อย่างไร

11. งบประมาณ
ให้แสดงรายการงบประมาณเป็นรายการดังนี้
1. ค่าตอบแทนคณะผู้วิจัย (แสดงรายการเป็นรายบุคคล)
1.1 ชื่อ ………………………………
(เงินเดือน x เวลาทำวิจัย (%) x 1.5)
2. ค่าจ้างผู้ช่วยนักวิจัย
2.1 ชื่อ ………………………เงินเดือน …………….. บาท
วุฒิ …………………….ประสบการณ์ในการทำงาน ……………………. ปี
เวลาทำวิจัย……………………เดือน
(ค่าตอบแทน ค่าจ้างผู้ช่วยวิจัยและเจ้าหน้าที่อื่นๆ รวมแล้วไม่ควรเกิน 30% ของงบประมาณรวม ถ้าเกินควรใช้วิธีเหมาจ่ายเนื่องจากเป็นโครงการขนาดเล็ก)
3. ค่าครุภัณฑ์ (ควรแจกแจงรายการ)
ครุภัณฑ์
…………………………………………………………………………………………
ลักษณะการใช้และความจำเป็นต่อโครงการวิจัยฯ
……………………………………………………………………..…………………….
ประโยชน์ของครุภัณฑ์นี้ที่จะมีต่อไปหลังจากโครงการวิจัยเสร็จสิ้น
…………………………………………………………………….. ……………………
สถานภาพของครุภัณฑ์นี้ในหน่วยงานของท่าน
( ) ไม่มีครุภัณฑ์นี้เลย
( ) มีครุภัณฑ์ที่ลักษณะการใช้งานใกล้เคียงกันคือ
ครุภัณฑ์ สถานภาพและการใช้งานปัจจุบัน
1. ………………… …………………………………………….
2. ………………… …………………………………………….
( ) ปัจจุบันมีอยู่แล้ว โดยมีสถานภาพดังนี้
4. ค่าวัสดุ
4.1 (รายละเอียด)
5. ค่าเดินทางระหว่างปฏิบัติการในโครงการ
5.1 (รายละเอียดในการเดินทางสอดคล้องกับแผนงานวิจัย)
6. ค่าจัดหาข้อมูล
7. ค่าทำรายงนา
8. ค่าวิเคราะห์ตัวอย่าง
9. ค่าบริหารโครงการ
(เป็นค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยงานที่ท่านใช้สถานที่ในการดำเนินการวิจัยโดยต้องจ่ายตามจริง แต่ไม่เกิน 10% ของงบประมาณรวม)
รวมเป็นงบประมาณทั้งสิ้น…………………. บาท

12. เอกสารอ้างอิง

13. ประวัติคณะผู้วิจัย
ประวัติเต็มของแต่ละท่านในคณะผู้วิจัย (ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วันเดือนปีเกิด ประวัติการศึกษา ตำแหน่ง สถานที่ทำงานพร้อมที่อยู่ที่ติดต่อได้และโทรศัพท์ ความชำนาญ และผลงานการวิจัยและสิ่งตีพิมพ์)

14. เอกสารยืนยันความร่วมมือกับบริษัทหรือสถาบันการศึกษาอื่น (ถามี)
ในรูปของหนังสือหรือเอกสารแสดงความร่วมมือ เช่น ให้สถานที่ วัตถุดิบ อุปกรณ์หรือบุคลากรบางส่วนของบริษัทหรือสถาบันการศึกษาอื่นๆ ในการดำเนินงานวิจัยหรือสนใจที่จะใช้ผลงานที่จะได้จากโครงการ

วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

วันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ข้อแนะนำในการตั้งชื่อโฟลเดอร์เพื่อเก็บไฟล์ซอร์สโค้ดภาษาซี

C:\tc\bin\tcc.exe
ข้อแนะนำในการตั้งชื่อโฟลเดอร์เพื่อเก็บไฟล์ซอร์สโค้ดภาษาซี
1.ใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือตัวเลข 0-9
2.ความยาวของชื่อโฟล์เดอร์ไม่เกิน 8 อักขระ
3.ไม่เว้นวรรค
4.หลีกเลี่ยงตัวอักษร O 0 o (ตัวโอเล็ก ใหญ่ เลขศูนย์)
5.หลีกเลี่ยงตัวอักษร I l 1 (ตัวอักษรไอตัวใหญ่ ตัวแอลพิมพ์เล็ก เลข 1)
(case sensitive = ...)
6.ตั้งชื่อให้สื่อความหมาย

คำสงวนในภาษาซี
คำหลักในภาษาซี
keyword,c reserved word

C - Reserved Keywordss

auto else long switch
break enum register typedef
case extern return union
char float short unsigned
const for signed void
continue goto sizeof volatile
default if static while
do int struct _Packed
double

http://www.tutorialspoint.com/ansi_c/c_reserved_keywords.htm